Measures
and screening tests for depression in Thailand:
A
user’s guide
Thammanard
Charernboon M.D.
Charernboon T. Measures and screening
tests for depression in Thailand: A user’s guide. Thammasat Med J
2011; 11(4): 667-676
for full text (PDF)/บทความฉบับเต็ม download ได้ที่: http://203.131.209.236/tumedicaljournal/attachments/article/3/667-676.pdf
Abstract
Objective:
To review the relevant literatures in measures and screening tests for
depression in Thailand.
Method:
The Ovid, Medline, the Thai research database, the Thai reference database for
research and www.google.com were searched for literatures concerning measures
and screening tests for depression by using the following keywords: assessment,
screening, measurement, inventory, scale, questionnaire, depressive disorder,
depression and Thai (in both Thai and English language).
Results:
There are at least 17 measures for depression in Thailand. Most of them were
translated from English version (12 measures), and five of them were created
only in Thai language. There are 14 measures for screening depression, and 4
measures for symptom-severity. Regarding guide for selection a measure, the
author presents important issues for consideration which are the goal of the
assessment, target group, assessment method and properties of measures
(validity and reliability).
Conclusion:
At present, there are varieties of depression measures in Thailand, therefore
the users should be rigorous in consideration about characteristic of their
work and the properties of measures before choosing a measures. After that, the
user will be able to choose an appropriate measure.
Keywords:
measure, screening test, depression
======================================================================
*** เป็นบทความพิเศษ ที่เล่าว่าแบบประเมิน/คัดกรองภาวะซึมเศร้าในประเทศมีทั้งหมดที่ชนิด การจะเลือกใช้แบบประเมินอะไร ควรพิจารณาจากอะไร ? เพื่อที่จะได้เลือกใช้ได้ถูกต้องเหมาะสมต่อไป ***
แบบประเมินและแบบคัดกรองภาวะซึมเศร้าในประเทศไทย:
ข้อควรพิจารณาในการเลือกใช้
ธรรมนาถ
เจริญบุญ พบ.
บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์
เพื่อทบทวนบทความเกี่ยวกับแบบประเมินภาวะซึมเศร้าในประเทศไทย
วิธีการศึกษา
บทความเกี่ยวกับแบบประเมินภาวะซึมเศร้าในประเทศไทยถูกสืบค้นผ่าน Ovid,
MEDLINE, ฐานข้อมูลงานวิจัยของประเทศไทย ฐานข้อมูลบรรณานุกรม และ www.google.com
ใช้คำสำคัญว่า
assessment,
screening, measurement, inventory, scale, questionnaire, depressive disorder,
depression, Thai และภาษาไทยได้แก่ แบบวัด, แบบประเมิน, แบบคัดกรอง,
แบบสอบถาม, ซึมเศร้า
ผลการศึกษา มีเครื่องมือที่ใช้ประเมินภาวะซึมเศร้าในประเทศไทยอย่างน้อย
17 แบบทดสอบ พบว่าส่วนใหญ่เป็นเครื่องมือที่แปลจากต้นฉบับภาษาอังกฤษจำนวน 12 ฉบับ และเป็นเครื่องที่พัฒนาขึ้นมาเองในประเทศไทยจำนวน 5 ฉบับ โดยเป็นเครื่องมือสำหรับการคัดกรอง 14
ฉบับและสำหรับประเมินความรุนแรงหรือติดตามอาการ 4 ฉบับ
ข้อควรพิจารณาในการเลือกใช้แบบทดสอบ
ผู้นิพนธ์ได้เสนอประเด็นสำคัญที่ควรพิจารณาได้แก่ เป้าหมายของการประเมิน
กลุ่มเป้าหมาย วิธีการประเมิน และคุณสมบัติของเครื่องมือ (validity and
reliability)
สรุป ในปัจจุบันแบบประเมินภาวะซึมเศร้าในประเทศไทยมีจำนวนมาก
ดังนั้นก่อนจะนำเครื่องวัดเหล่านี้ไปใช้
ผู้ใช้ควรเข้าใจอย่างดีถึงลักษณะของงานที่จะนำไปใช้ และคุณสมบัติของเครื่องมือ
เมื่อพิจารณาอย่างถี่ถ้วนแล้ว ผู้ใช้จะสามารถเลือกใช้เครื่องมือได้อย่างเหมาะสมได้
คำสำคัญ
แบบประเมิน, แบบคัดกรอง, ภาวะซึมเศร้า
ตาราง (แบบย่อ)
เปรียบเทียบคุณสมบัติเครื่องมือประเมินและคัดกรองภาวะซึมเศร้าฉบับภาษาไทย
Measurement
|
No. of item
|
Application
|
Administer
|
Sensitivity
|
Specificity
|
Remark
|
แบบวัดความเศร้าในผู้สูงอายุ
(TGDS)
25374
|
30
|
Screening
|
Self-rating
|
-
|
-
|
ใช้ในผู้สูงอายุ
(60-70
ปี)
|
Thai
hospital anxiety and depression (Thai-HADS) 25395
|
Total =14 (depression subscale = 7)
|
Screening
|
Self-rating
|
85.7%*
|
91.3%*
|
*เฉพาะ Depression subscale
|
Hamilton
rating scale for depression (HRSD-17) 25396
|
17
|
Symptom-severity
|
Interview
|
-
|
-
|
*r =
-.8239
|
แบบคัดกรองภาวะซึมเศร้าในเด็ก
Children’s
Depression Inventory (CDI) 25397
|
27
|
Screening
|
Self-rating
|
78.7%
|
91.3%
|
ใช้ในเด็ก
|
Thai
version of the Beck depression inventory (BDI) 25408
|
21
|
Screening,
Symptom-severity
|
Interview
|
-
|
-
|
-
|
แบบคัดกรองภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่น (Center for
Epidemiologic Studies-Depression Scale
CES-D)
2540 อุมาพร ตรังคสมบัติ9
|
20
|
Screening
|
Self-rating
|
72.0%
|
85.0%
|
ใช้ในวัยรุ่น
(15-18 ปี)
|
The
Center for Epidemiologic Studies-Depression scale (CES-D) 2540 วิไล
คุปต์นิรัติศัยกุล10
|
20
|
Screening
|
Self-rating
|
93.3%
|
94.2%
|
ใช้ในผู้ใหญ่
|
Health-Related
Self-Reported Scale
(HRSR) 254011
|
20
|
Screening
|
Self-rating
|
90.2%
|
85.3%
|
ภาษาไทยเท่านั้น
|
แบบคัดกรองภาวะซึมเศร้า
254612
|
15
|
Screening
|
Interview
|
86.8%
|
79.8%
|
ภาษาไทยเท่านั้น
|
Montgomery-Asberg
depression rating scale (MADRS) 254613
|
10
|
Symptom-severity
|
Interview
|
-
|
-
|
-
|
แบบวัดหาโรคซึมเศร้า (Thai
Depression Inventory:
TDI)
254714
|
20
|
Symptom-severity
|
Self-rating
|
-
|
-
|
*r = 0.72
ภาษาไทยเท่านั้น
|
Thai Edinburgh
Postnatal Depression Scale (EPDS) 254815
|
10
|
Screening
|
Self-rating
|
74.0%
|
74.0%,
|
screen
for postpartum depression
|
Postpartum
Depression Screening Scale (PDSS)
254916
|
35
|
Screening
|
Self-rating
|
72.0%*
75.0%**
|
79.0%*
99.0%**
|
*For
major and minor depressive disorder
**For
major depressive disorder only
screen
for postpartum depression
|
Khon
Kaen University depression inventory (KKU-DI) 254217
|
30
|
Screening
|
Self-rating*
|
88.0%
|
88.0%
|
ใช้ในคนไทยอีสาน
*ใช้วิธี Interview ในกรณีอ่านไม่ออก
|
แบบประเมินโรคซึมเศร้า
9 คำถาม ภาษาอีสาน 255018
|
9
|
Screening
|
Self-rating
|
75.7%
|
93.4%
|
ใช้ในคนไทยอีสาน
|
Thai version
Patient Health Questionnaire (PHQ-9) 255119
|
9
|
Screening
|
Self-rating
|
53.0%*
84.0%**
|
98.0%*
77.0%**
|
*Categorical algorithm
measure
**Continuous
measure
***r
= 0.56
|
Thai
version of the EURO-D scale 255320
|
12
|
Screening
|
Interview
|
84.3%
|
58.6%
|
ใช้ในผู้สูงอายุ > 60 ปี
|
No comments:
Post a Comment